วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ
จ.สกลนคร
คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ
จ.สกลนคร
จ.สกลนคร
คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร จัดตั้งตามประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน2543 (ประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่องการจัดตั้งคณะ
สำนัก และ สำนักงานวิทยาเขต ที่จังหวัดสกลนคร ลงวันที่ 23 พฤษภาคม 2543)
รับผิดชอบการสอน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร
คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดสกลนคร มีภารกิจในการสร้าง และ สั่งสมภูมิปัญญา
เพื่อรองรับภูมิภาคและประเทศโดยผ่าน การศึกษาวิจัยและบริการให้พร้อมด้วย คุณธรรม
จริยธรรม ยึดมั่นพัฒนา หลักสูตรที่ทันสมัยให้สอดคล้องกับความต้องการของ
ภูมิภาคและประเทศ
หลักสูตรที่เปิดสอน
-
หลักสูตรระดับปริญญาตรี
-
หลักสูตรระดับปริญญาโท
-
หลักสูตรระดับปริญญาเอก
คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เปิดทำการสอนในหลักสูตร
ทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับปริญญาโท
รายละเอียดหลักสูตร ปรากฏดังนี้
หลักสูตรระดับปริญญาตรีภาคปกติ
-
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิศวกรรมเครื่องกลและการผลิต
-
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
-
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม
-
วิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
วิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์
-
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมีประยุกต์
-
หลักสูตรระดับปริญญาตรีภาคพิเศษ
-
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
-
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม
-
วิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จ.สกลนคร
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการได้รับการสถาปนาเป็นคณะ
เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2543 ตามประกาศสภามหาวิทยาลัยกษตรศาสตร์
เรื่องการจัดตั้งคณะ สำนัก และสำนักวิทยาเขต ที่จังหวัดสกลนคร
โดยเปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการบัญชี B.B.A (Accounting) และ
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป B.B.A (General
Management)
อ้างถึง : http://www.ku.ac.th/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น